อุทยานประวัติศาสตร์ [TH]

อุทยานประวัติศาสตร์

Review

4 / 5 จาก 12 คน
  1. 5
    6 คน
  2. 4
    2 คน
  3. 3
    2 คน
  4. 2
    1 คน
  5. 1
    1 คน

ความคิดเห็นล่าสุด ดูทั้งหมด

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย Attractions (18)

  1. 1

    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย

    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยตั้งอยู่บริเวณหมู่ที่ 6 ตำบลศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยในปัจจุบัน ตัวเมืองตั้งอยู่บนที่ราบริมแม่น้ำยม มีเทือกเขาสามเทือกโอบรอบเมืองลักษณะเหมือนป้อมปราการธรรมชาติ เทือกเขาที่โอบล้อม ได้แก่ เขาพระศรี เขาใหญ่ และเขาพระบาท ลักษณะการวางผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าไม่สม่ำเสมอ โดยมีแม่น้ำยมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก กำแพงเมืองชั้นในเป็นศิลาแลง ส่วนกำแพงเมืองสองชั้นนอกเป็นกำแพงดิน (คูน้ำคันดิน) เนื่องจากสภาพภูมิประเทศมีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน คือมีทั้งที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ลาดเชิงเขา ทำให้มีทั้งความอุดมสมบูรณ์ ของพื้นที่และปราการธรรมชาติที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกศัตรู

  2. 2

    วัดพระศรีรัตมหาธาตุเชลียง (วัดพระบรมธาตุเมืองเชลียงหรือวัดพระปรางค์)

  3. 3

    วัดชมชื่น

  4. 4

    วัดน้อยจำปี

  5. 5

    วัดหลักเมือง

  6. 6

    วัดทุ่งเศรษฐี

  7. 7

    วัดพญาดำ

  8. 8

    วัดนางพญา

  9. 9

    วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่

  10. 10

    วัดเจดีย์เจ็ดแถว

  11. 11

    วัดช้างล้อม

  12. 12

    วัดเขาสุวรรณคีรี

  13. 13

    วัดสวนแก้วอุทยานน้อย

  14. 14

    พระราชวัง

  15. 15

    วัดเขาพนมเพลิง

  16. 16

    วัดกุฎีราย

  17. 17

    ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์เตาสังคโลก กลุ่มเตาหมายเลข 42 และ 123

  18. 18

    ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์เตาสังคโลก กลุ่มเตาหมายเลข 61

อุทยานประวัติศาสตร์ สด๊กก๊อกธม จังหวัดสระแก้ว Attractions (8)

  1. 1

    อุทยานประวัติศาสตร์ สด๊กก๊อกธม

    ปราสาทสด๊กก๊อกธมมีชื่อเรียกเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมทางกายภาพตามลําดับเวลา กล่าวคือราวพุทธศักราช 2463 เรียกโบราณสถานแห่งนี้ว่า ปราสาทเมืองพร้าว ปัจจุบันเรียกว่า ปราสาทสด๊กก๊อกธม ซึ่งเป็นชื่อเรียกในภาษาเขมร แปลว่า รกไปด้วยต้นกกขนาดใหญ่ นับตั้งแต่พุทธศักราช 2536 กรมศิลปากรได้สํารวจโบราณสถาน และเริ่มโครงการอนุรักษ์และพัฒนาปราสาทสด๊กก๊อกธม ระหว่างพุทธศักราช 2539 - 2553 โดยดําเนินงานโบราณคดีและบูรณะโบราณสถานด้วยวิธีการประกอบคืนสภาพจนแล้วเสร็จ ต่อมาในพุทธศักราช 2560 กรมศิลปากรได้ประกาศจัดตั้งโครงการอุทยานประวัติศาสตร์สด๊กก๊อกธม เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม

  2. 2

    บาราย

    รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีเนื้อที่ประมาณ 77 ไร่ อยู่ห่างจากตัวปราสาทระยะทางประมาณ 175 เมตร ใช้กักเก็บนํ้า เพื่อการอุปโภคบริโภค หรือ การเกษตรกรรม สําหรับเลี้ยงทาส ที่ถวายไว้เพื่อดูแลรักษาเทวสถานและชาวบ้านท่ีอยู่อาศัยโดยรอบ ทางด้านทิศเหนือของบารายมี ฝายโบราณ หรือ “ละลม” ลักษณะเป็นคันดินท่ีพูนข้ึนมาบรรจบกันเป็นรูปมุมฉาก เพื่อกั้นน้ํา จากทางด้านตะวันออก อันเป็นดินแดนของราชอาณาจักรกัมพูชา ในปัจจุบันให้ไหลลงสู่บารายตรงมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

  3. 3

    ฉนวนทางเดิน

  4. 4

    ซุ้มประตูและกำแพงแก้ว

  5. 5

    สระรูปตัวยู

  6. 6

    ซุ้มประตูและระเบียงคต

  7. 7

    ปราสาทประธาน

  8. 8

    บรรณาลัย

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย Attractions (10)

  1. 1

    อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย

    ปราสาทหินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยนั้นก็คือ ปราสาทหินพิมาย ในเขตจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งย่อมแสดงให้เห็นถึงความเป็นศูนย์กลางและเป็นปากประตูสําคัญจากลุ่มแม่น้ํามูลไปสู่เมืองพระนครของอาณาจักรกัมพูชา และบ้านเมืองในเขตลุ่มแน่น้ําเจ้าพระยา โบราณสถานที่ปรากฏอยู่ในเมืองพิมายนั้นปรากฏมีอยู่หลายแห่งทั้งนอกเมืองและในเมืองโบราณพิมาย แต่ที่สําคัญได้แก่ ปราสาทหินพิมาย เกือบทั้งหมดมีสภาพปรักหักพังทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ในพุทธศักราช 2507 กรมศิลปากรได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลประเทศฝรั่งเศส สนับสนุนองค์ปรางค์ประธานของปราสาทหินพิมายจนแล้วเสร็จในพุทธศักราช 2511 ปราสาทหินพิมายนับเป็นพุทธศาสนสถานในลัทธิมหายานที่สร้างขึ้นในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 16

  2. 2

    ปราสาทประธาน

  3. 3

    ปรางค์พรหมทัต

  4. 4

    ชาลาทางเดิน

  5. 5

    กำแพงแก้ว (โคปุระด้านทิศใต้)

  6. 6

    ปรางค์หินแดง

  7. 7

    หอพราหมณ์

  8. 8

    บรรณาลัย

  9. 9

    กำแพงแก้ว (โคปุระด้านทิศเหนือ)

  10. 10

    สระน้ำ

Price : ฿0.00

อุทยานประวัติศาสตร์ [TH] TH

05-03-2020

Free

1 Day

3 Places

36 Attractions

Place Map

Change Password